นอนกรน หรือภาวะหยุดหายใจขณะหลับเนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้น
เสียงกรน คือ เสียงการสั่นพลิ้วสะบัดของลิ้นไก่ เนื้อเยื่อบริเวณเพดานอ่อน และช่องคอส่วนบน เกิดเมื่อมีภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน การนอนกรน แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ อาการของผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้น ได้แก่ มีอาการง่วงมากผิดปกติในช่วงกลางวัน สมาธิไม่ดี และมีปัญหานอนกรน ทั้งนี้อาจพบอาการอื่นได้ ได้แก่
แพทย์จะทำการสอบถามข้อมูลจากตัวผู้ป่วย และผู้ใกล้ชิด เช่น สามีหรือภรรยา และให้ทำแบบสอบถามว่ามีอาการเผลอหลับในสถานการณ์ต่างๆหรือไม่ |
||
ปัจจัยที่ทำให้อาการกรนมากขึ้นและมีภาวะอุดตันทางเดินหายใจ
1. น้ำหนักตัวมากขึ้น ทำให้ไขมันสะสมบริเวณช่องทางเดินหายใจส่วนบนมากขึ้น ช่องทางเดินหายใจจึงแคบลง |
||
|
||
แนวทางการรักษา
1. ปรับสุขภาพอนามัยการนอนหลับ นอนพักผ่อนเป็นเวลาทุกวัน ทำให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายก่อนนอนหลับ |
||
|
นอนกรน
บทความ
โรงพยาบาลพระรามเก้า
บทความล่าสุด
ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกับ Praram 9 V
ปรึกษาแพทย์ได้ทุกที่ผ่านทางวิดีโอคอล (Telemedicine)
แพทย์ผู้เขียนบทความ
ศูนย์แพทย์
บทความอื่นๆ
โรคไตระยะ 5 อยู่ได้นานแค่ไหน? คำแนะนำเพื่อการรักษาที่เหมาะสม
โรคไตระยะ 5 เป็นภาวะที่ไตเสื่อมจนไม่สามารถทำหน้าที่กรองของเสียและขจัดน้ำส่วนเกินจากร่างกายได้ ผู้ป่วยต้องพึ่งการฟอกไตหรือปลูกถ่ายไตเพื่อรักษาชีวิต ระยะเวลาในการอยู่รอดขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย หากผู้ป่วยได้รับการรักษาที่เหมาะสมและปฏิบัติตามคำแนะนำจากแพทย์ก็จะช่วยให้มีชีวิตที่ยืนยาวและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้
โนโรไวรัส (Norovirus) ระบาดหนัก ควรเฝ้าระวังอาการท้องเสีย
เชื้อโนโรไวรัสแพร่กระจายได้ง่าย จากการรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีการปนเปื้อนเชื้อโนโรไวรัส การสัมผัสพื้นผิวที่มีเชื้อไวรัสและเอามือเข้าปาก
ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี…เมื่อไหร่ควรผ่า? วิธีเตรียมตัว และการดูแลหลังผ่าตัด
การผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี (Cholecystectomy) เป็นการรักษาปัญหานิ่วในถุงน้ำดี ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการเจ็บปวดและภาวะแทรกซ้อนได้ การผ่าตัดนี้มักแนะนำในผู้ป่วยที่มีก้อนนิ่วขนาดใหญ่ หรือมีก้อนนิ่วจำนวนมาก หรือในผู้ป่วยมีอาการรุนแรง เช่น การปวดท้องด้านขวาบนเฉียบพลันหรือนิ่วอุดตันในท่อน้ำดี การเอาถุงน้ำดีออกไม่ส่งผลกระทบต่อการย่อยอาหาร และช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดนิ่วซ้ำได้