นอนกรน หรือภาวะหยุดหายใจขณะหลับเนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้น
เสียงกรน คือ เสียงการสั่นพลิ้วสะบัดของลิ้นไก่ เนื้อเยื่อบริเวณเพดานอ่อน และช่องคอส่วนบน เกิดเมื่อมีภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน การนอนกรน แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ อาการของผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เนื่องจากทางเดินหายใจอุดกั้น ได้แก่ มีอาการง่วงมากผิดปกติในช่วงกลางวัน สมาธิไม่ดี และมีปัญหานอนกรน ทั้งนี้อาจพบอาการอื่นได้ ได้แก่
แพทย์จะทำการสอบถามข้อมูลจากตัวผู้ป่วย และผู้ใกล้ชิด เช่น สามีหรือภรรยา และให้ทำแบบสอบถามว่ามีอาการเผลอหลับในสถานการณ์ต่างๆหรือไม่ |
||
ปัจจัยที่ทำให้อาการกรนมากขึ้นและมีภาวะอุดตันทางเดินหายใจ
1. น้ำหนักตัวมากขึ้น ทำให้ไขมันสะสมบริเวณช่องทางเดินหายใจส่วนบนมากขึ้น ช่องทางเดินหายใจจึงแคบลง |
||
|
||
แนวทางการรักษา
1. ปรับสุขภาพอนามัยการนอนหลับ นอนพักผ่อนเป็นเวลาทุกวัน ทำให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายก่อนนอนหลับ |
||
|
นอนกรน
บทความ
โรงพยาบาลพระรามเก้า
บทความล่าสุด
ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกับ Praram 9 V
ปรึกษาแพทย์ได้ทุกที่ผ่านทางวิดีโอคอล (Telemedicine)
แพทย์ผู้เขียนบทความ
ศูนย์แพทย์
บทความอื่นๆ
ปัญหาปวดเท้า นิ้วเท้าผิดรูป แก้ไขได้แค่เลือกรองเท้าให้ถูกต้อง
สุขภาพของเท้าเป็นสิ่งสำคัญที่มักถูกมองข้าม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่เราต้องเดินหรือวิ่งเป็นเวลานานๆ หรือมีกิจกรรมที่มีแรงกระแทก หากไม่ได้เลือกรองเท้าให้เหมาะสมกับรูปเท้าของเราจริงๆ อาจนำไปสู่ปัญหาทางสุขภาพ
ทำความรู้จัก “การสวนหัวใจ (CAG)” คืออะไร มีข้อดีอย่างไรบ้าง?
การสวนหัวใจ (CAG) เป็นการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ ช่วยให้อายุรแพทย์โรคหัวใจสามารถเห็นสภาพภายในหลอดเลือดได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้การสวนหัวใจยังสามารถทำได้ในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งช่วยให้แพทย์สามารถทำการรักษาได้ทันทีเมื่อพบปัญหา เช่น การทำบอลลูนขยายหลอดเลือดหรือใส่ขดลวด และยังช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดรุนแรงได้
แน่นหน้าอก สัญญาณเตือนภัยจากหัวใจที่ไม่ควรละเลย
อาการแน่นหน้าอกเป็นสัญญาณที่สำคัญของโรคหัวใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หรือรู้สึกอึดอัดที่แผ่ร้าวไปยังแขน คอ หรือกราม อย่างไรก็ตามอาการนี้ยังสามารถเกิดจากสาเหตุอื่น เช่น โรคปอด โรคทางเดินอาหาร หรือความเครียด หากมีอาการแน่นหน้าอก ควรรีบพบแพทย์เพื่อรับการตรวจและรักษาอย่างทันท่วงที