บทความสุขภาพ

Knowledge

ปัญหาของผู้สูงอายุ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ หู-คอ-จมูก

ปัญหาของผู้สูงอายุ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ หู-คอ-จมูก ที่สำคัญคือ


คอ-จมูก


นอนกรน


กรณีเช่นนี้จำเป็นต้องรีบตรวจหาตำแหน่งที่เป็นสาเหตุของโรค โดยการใช้กล้อง Flexible ENT-scope ทำ


Muller’s test (ภาพ 3) และการสังเกตตรวจจับความผิดปกติเวลานอน (Sleep study)


การแพทย์ปัจจุบันเราสามารถแก้ไขเรื่องนอนกรน และทางเดินหายใจติดขัดเวลานอน โดยการผ่าตัดและ/หรือ


การใช้เครื่องมือพิเศษอื่น ๆ ได้ ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ เพราะเป็นอันตรายต่อร่างกายได้ และเป็นการแก้ไขที่ต้น


เหตุที่แท้จริง .


ผู้สูงอายุที่พบว่านอนกรนมาก กลางคืนนอนมีหายใจสะดุด ตื่นบ่อย หายใจติดขัด ซึ่งอาจเป็นสาเหตุ


นำไปสู่โรคความดันโลหิตสูง , โรคหัวใจ สมอง-ความจำเสื่อม มีอาการเพลียเมื่อตื่นนอนตอนเช้า แม้จะนอน


วันละ 7-8 ชั่วโมงก็ตาม สาเหตุจากทางเดินหายใจติดขัดเวลานอน (Obstructive sleep apnea) ทำให้ออกซิเจน


ไปเลี้ยงสมองไม่พอ มีแก๊ส CO2 คั่งในร่างกายการตรวจสุขภาพประจำปี สำหรับผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้ที่มีเชื้อสายจีนตอนใต้ เช่น แต้จิ๋ว, กวางตุ้ง ,


ไหหลำ เป็นต้น และผู้ที่มีประวัติ สูบบุหรี่มาเป็นเวลาหลายปี แม้ขณะนี้จะหยุดสูบไปแล้วก็ตาม ควรได้รับการ


ตรวจทาง หู-คอ-จมูก ร่วมกับการส่องกล้องตรวจช่องจมูก – กล่องเสียง (Flexible rhinonasopharyngo –


laryngoscopy) ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในการตรวจหามะเร็งในช่อง-หลังจมูก และกล่องเสียง ถ้าเกิดพบความผิด


ปกติ จะได้รับการรักษาในระยะต้นๆ มะเร็งในระยะต้นๆ ซื่งโอกาสรักษาให้หายขาดก็มีสูงขึ้น (ภาพ 2)


การได้ยินลดลง – หูตึง


อันตรายจากมะเร็งของช่องจมูก-คอ-กล่องเสียง


เรื่องทางเดินหายใจติดขัดเวลานอน – นอนกรน ซึ่งมักจะถูกมองข้ามความสำคัญไป


หูตึง


คนอายุเกินกว่า 60-70 ปี อาจมีประสาทหูเสื่อมโดยเฉพาะในย่านความถี่สูง จะมากหรือน้อยนั้น บางส่วน


เกี่ยวข้องกับทางกรรมพันธุ์ ผลกระทบต่อการได้ยินจะยิ่งรุนแรง ถ้าผู้สูงอายุนั้นเคยมีปัญหาเรื่องหูน้ำหนวก


หรือเคยได้รับผลกระทบจากเสียงดังเกินขนาดมาก่อนในช่วงเยาว์วัย


อาการหูตึง อาจแสดงออกในลักษณะต่างๆ กันเช่น


1. เวลาสนทนาในหมู่คนมากๆ จะฟังคำพูดลำบาก


2. ต้องอาศัยการมองริมฝีปากผู้พูด ถึงจะจับความได้ดีขึ้น


3. มีคนทักท้วงว่าฟังคำพูดผิดบ่อยๆ กว่าแต่ก่อน


ก่อนใช้เครื่องขยายเสียง – เครื่องช่วยฟัง ควรตรวจการได้ยินโดยผู้ชำนาญเสียก่อน ผลการตรวจที่ละเอียดไม่เพียงแต่ทำให้เราสามารถเลือกเครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมแต่ยัสามารถช่วยตรวจหาสาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้หูตึงได้ เช่น โรคของหูส่วนกลาง ซึ่งสามารถรักษา – ผ่าตัด ให้ดีขึ้นได้


ผู้สูงอายุถ้าการได้ยินเสื่อมลงอย่างรวดเร็วอาจมีสาเหตุอื่นๆ นอกจากประสาทหูเสื่อมตามอายุ เช่น การมีน้ำขัง

เกี่ยวกับผู้เขียนบทความ

บทความที่เกี่ยวข้อง (10)

ดูทั้งหมด

หมอนรองกระดูกเสื่อม ต้นเหตุอาการปวดหลังเรื้อรังที่อายุน้อยก็พบได้

หมอนรองกระดูกเสื่อมคือภาวะที่เกิดจากการเสื่อมของหมอนรองกระดูกจนไม่สามารถทำหน้าที่ลดแรงกระแทกได้ ทำให้กระดูกรอบ ๆ สึกและอักเสบขึ้นจนเกิดอาการปวดเรื้อรัง

อาการปวดสะโพกร้าวลงขา อีกหนึ่งสัญญาณเส้นประสาทถูกกดทับ

อาการปวดสะโพกร้าวลงขา (Sciatica pain) เกิดจากการถูกกดทับที่เส้นประสาท ทำให้รู้สึกปวดจากช่วงเอวหรือสะโพกร้าวลงขาด้านหลัง บางรายอาจร้าวไปถึงน่องและเท้าได้

ปวดข้อเท้าเกิดจากสาเหตุอะไร มีวิธีรักษาอย่างไรไม่ให้เจ็บเรื้อรัง?

ทำความเข้าใจกับอาการปวดข้อเท้าที่ควรรู้ อาการแบบไหนที่ควรเข้าปรึกษาแพทย์? พร้อมเรียนรู้สาเหตุของอาการ วิธีรักษา ตลอดจนการป้องกันไม่ให้เจ็บข้อเท้าเรื้อรัง

คำแนะนำการป้องกันมาลาเรียสำหรับนักเดินทาง

โรคมาลาเรียเป็นโรคที่เกิดจากโปรโตซัว Plasmodium นำโดยยุงก้นปล่อง มีทั้งหมด 5 สายพันธุ์ สายพันธ์ุที่รุนแรงคือ Plasmodium falciparum ซึ่งเป็นสายพันธุ์หลักในทวีปแอฟริกา ทำให้เกิดการติดเชื้อรุนแรง อวัยวะต่างๆล้มเหลว ติดเชื้อขึ้นสมอง โคม่า ชัก และเสียชีวิตได้ หากได้รับการรักษาที่ล่าช้า

ไส้เลื่อน ใครก็เป็นได้ อันตรายที่ต้องรักษาก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน

ไส้เลื่อน คือภาวะที่ลำไส้เลื่อนหรือดันออกมาจากช่องท้อง สามารถสังเกตเห็นก้อนนูนออกมาตามขาหนีบ หน้าท้อง สะดือ หากไม่รักษาอาจเกิดอันตรายจากอาการแทรกซ้อนได้

รู้ทันต้อหิน โรคร้ายทำลายการมองเห็น รีบรักษาก่อนสายเกินแก้

ต้อหิน (Glaucoma) คือโรคตาที่มีสาเหตุจากขั้วประสาทตาเสื่อม ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหัวปวดตา กระจกตาขุ่น การมองเห็นแย่ลง และค่อย ๆ สูญเสียการมองเห็นไปในที่สุด

Hypothyroidism คืออะไร? รู้ทันสาเหตุ อาการ และวิธีรักษา

Hypothyroidism คือ ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ หรือฮอร์โมนไทรอยด์ทำงานต่ำ ทำให้ระดับการเผาผลาญพลังงานลดลง และนำมาสู่การทำงานของระบบต่าง ๆ ผิดปกติ

รู้ทันอาการน้ำในหูไม่เท่ากัน ใครเวียนหัว บ้านหมุนบ่อยต้องระวัง

โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน เป็นความผิดปกติของระบบน้ำในหูชั้นใน ซึ่งสามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ เวียนหัว บ้านหมุน ทรงตัวไม่อยู่ และการได้ยินผิดปกติ

หายใจไม่อิ่ม หายใจลำบาก สัญญาณอันตรายที่คุณไม่ควรมองข้าม

หายใจไม่อิ่ม เป็นอาการที่หลายคนเผชิญ อาจมีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่เต็มปอด หายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อยง่าย บทนี้ความจะพาไปดูสาเหตุของอาการเหล่านี้กัน

ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน อันตรายถึงชีวิตแบบไร้สัญญาณเตือน

หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest) คือ ภาวะที่หัวใจหยุดทำงานกะทันหัน ทำให้หมดสติและเสียชีวิตในไม่กี่นาที จึงเป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรับการรักษาทันที

Copyright © 2024 All Rights Reserved | Praram 9 Hospital