บทความสุขภาพ

Knowledge

ทางเดินอาหาร: เชื้อไทฟอยด์ หรือ salmonella เชื้อที่ได้ยินชื่อนี้บ่อย

นายแพทย์ระพีพันธุ์ กัลยาวินัย อายุรแพทย์ และ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางเดินอาหาร

และโรคตับ ร.พ. พระรามเก้า


1. เชื้อนี้ทำให้เกิดการติดเชื้อได้หลายรูปแบบดังนี้ครับ


ลำใส้อักเสบ ท้องเสีย หรือ ปวดท้อง gastroenteritis

ไข้สูง ไข้ไทฟอยด์ enteric fever

ติดเชื้อในกระแสเลือด บางคนมี ช๊อคร่ามด้วย bacteremia

ติดเชื้อในระบบเส้นเลือด หรือ หัวใจ endovascular infections

ติดเชื้อเฉพาะที่เล็ก ๆ เช่นติดเชื้อในกระดูก หรือ เป็นฝี focal infections such as

osteomyelitis and abscesses

2. ติดเชื้อได้มากขนาดไหน เป็นปัญหาสำคัญหรือไม่


มีการศึกษาพบว่ามีการติดเชื้อกลุ่มนี้ถึง 2-4 ล้านคนในประเทศอเมริกาเลยครับ

ส่วนใหญ่เป็นลักษณะท้องเสีย ปวดท้อง มากที่สุด

การติดเชื้อ จากอาหาร พบถึง 9.7 % ของการติดเชื้ออาหารเป็นพิษจากแบคทีเรีย และ ทำให้เกิด

การเสียชีวิตในอาหารเป็นพิษจากเชื้อนี้มากกว่าเชื้ออื่น คือ ประมาณถึง 30.6 % ในการศึกษาในปี

1999

ลักษณะการติดเชื้อ

พบว่าการรับเชื้อเข้าไปมาก ๆ จะมีระยะฟักตัวเร็วกว่า (เป็นไม่นานหลังรับเชื้อ) ได้รับเชื้อไปน้อย การรับเชื้อน้อย ๆ บางราย อาจรับไปแล้วไม่ป่วย แต่เป็นพาหะนำเชื้อต่อ โดยไม่มีอาการ ขณะเดียวกันคนที่รับเชื้อไปน้อยมาก ก็ตามก็ป่วยได้เช่นกัน

การรับยาฆ่าเชื้อ อาจทำให้เชื้อเข้าไปในตัวลดลง จนอาจทำให้ป่วยลดลง หรือ ไม่ป่วย

ภาวะที่ไม่มีกรดในท้อง เช่น ในเด็กแรกเกิด เคยผ่าตัดกระเพาะ หรือ ได้ยาโรคกระเพาะมาก่อน

จะทำให้เกิดติดเชื้อโรคนี้ได้ง่ายขึ้น เนื่องจากไม่มีกรดเป็นด่านในการฆ่าเชื้อนี้ครับ

พบว่าการแพร่ในน้ำดื่มจะมีเชื้อเจือจางน้อยกว่า จึงเป็นเฉพาะเพียงบางคนเท่านั้น และ ใช้ระยะฟักตัวช้ากว่าในอาหาร คือ การแพร่ทางน้ำอาจตรวจพบได้ช้ากว่าการพบในอาหาร และ ไม่เป็นกันทุกคน หรือ มาเป็นภายหลังดื่มเป็นวัน ๆ ก็ได้ครับ เชื้อไทฟอยด์ อาจค้างอยู่ในเนย เนื้อแช่แข็ง หรือ ice cream เป็นเดือน ๆ ก็ได้ครับ

บทความที่เกี่ยวข้อง (10)

ดูทั้งหมด

ปัสสาวะบ่อย ไม่ใช่เรื่องเล็ก เสี่ยงโรคอันตรายบั่นทอนคุณภาพชีวิต

ปัสสาวะบ่อยเกิดได้จากหลายปัจจัย ตั้งแต่การดื่มน้ำหรือของเหลวในปริมาณมาก ได้รับคาเฟอีนมาก การใช้ยา ไปจนถึงโรคที่เกี่ยวข้องกับทางเดินปัสสาวะ เรียนรู้ในบทความนี้!

การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน ทางเลือกรักษาข้อเข่าเสื่อม แผลเล็ก ฟื้นตัวเร็ว

การผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียมบางส่วน หรือ UKA เป็นการผ่าตัดรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม โดยเอาผิวข้อเฉพาะส่วนที่สึกหรอออก และเก็บผิวข้อเข่าส่วนที่ยังมีสภาพดีไว้ ทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องใช้เวลาปรับตัวนาน ในการกลับไปใช้ข้อเข่าได้เหมือนธรรมชาติ

คุณเป็นโรคภูมิแพ้…จริงหรือ…?

คนทั่วไปเมื่อมีอาการคัดจมูก น้ำมูกไหลเรื้อรัง หรือเป็นๆ หายๆ มักจะบอกว่า เป็นโรคภูมิแพ้ หรือไม่ก็เข้าใจว่าตนเป็นหวัด หวัด เกิดจากการติดเชื้อไวรัส คนทั่วไปมักเป็นได้ปีละ 4 – 5 ครั้งก็มากเกินปกติแล้ว อาการหวัดมักเป็นอยู่ 3 – 4 วัน

โรคไข้อีดำอีแดง โรคที่เกิดจากพิษของเชื้อแบคทีเรีย

ข้อมูลจาก สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย โรคไข้อีดำอีแดงหรือ scarlet fever เป็นโรคที่เกิดจากพิษของเชื้อแบคทีเรียชื่อ #สเตร็ปโตคอคคัสชนิดเอ ทำให้มีผื่นแดง ตามตัวร่วมกับคอหอยหรือทอนซิลอักเสบ พบบ่อยในช่วงอายุระหว่าง 5-15 ปี

วัคซีนปอดอักเสบนิวโมคอกคัสชนิดใหม่ 20 สายพันธุ์ (PCV 20)

โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมคอกคัสเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสนิวโมเนียอี (Streptococcus pneumoniae) ส่วนใหญ่เชื้อจะพบอยู่ในโพรงจมูกและลำคอ สามารถแพร่กระจายผ่านการสัมผัสสารคัดหลั่งทางละอองฝอยทางการไอหรือจาม เป็นหนึ่งในเชื้อที่ทำให้เกิดปอดอักเสบที่พบบ่อย ทั้งในเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ

โรคแอนแทรกซ์ (Anthrax) โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน

โรคแอนแทรกซ์ หรือชาวบ้านเรียกว่าโรคกาลี เป็นโรคที่รู้จักกันมาแต่โบราณกาล แอนแทรกซ์นับว่าเป็นโรคระบาดสำคัญโรคหนึ่งในพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงที่เกิดขึ้นได้ในสัตว์กินหญ้าแทบทุกชนิด ทั้งสัตว์ป่า เช่น ช้าง เก้ง กวาง และสัตว์เลี้ยง เช่น โค กระบือ แพะ แกะ แล้วติดต่อไปยังคนและสัตว์อื่น

บอลลูนหัวใจ: แก้ปัญหาหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยไม่ต้องผ่าตัดใหญ่

การทำบอลลูนหัวใจหรือ PCI เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้สะดวก ลดอาการเจ็บหน้าอก และลดความเสี่ยงของหัวใจวาย เป็นการเปิดหลอดเลือดโดยไม่ต้องผ่าตัดใหญ่ ทำให้ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยยังคงต้องดูแลสุขภาพ หมั่นออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อรักษาสุขภาพของหัวใจในระยะยาว

ลิ้นหัวใจเทียมคืออะไร? ทำไมต้องเปลี่ยน? และอะไรบ้างที่คุณควรรู้?

การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียมเป็นหนึ่งในวิธีการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาลิ้นหัวใจผิดปกติ และการผ่าตัดเปลี่ยนลินหัวใจจะช่วยฟื้นฟูการทำงานของหัวใจให้กลับมาใกล้เคียงปกติ อย่างไรก็ตามผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาจะต้องได้รับการประเมินอย่างละเอียด เพื่อเลือกชนิดของลิ้นหัวใจที่เหมาะสม

หัวใจล้มเหลว อาการเป็นอย่างไร ป้องกันได้อย่างไรบ้าง

หัวใจล้มเหลวคือภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ร่างกายได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่เพียงพอ อาการสำคัญที่ควรสังเกต ได้แก่ เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก ขาบวม และน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับโรคหัวใจและหลอดเลือด การวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็วจะช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนรุนแรง

การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจมะเร็ง (Biopsy) หมดความสงสัย วินิจฉัยได้อย่างแม่นยำ

การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจมะเร็ง (Biopsy) คือวิธีที่นิยมในการวินิจฉัยมะเร็ง เนื่องจากความแม่นยำและละเอียดในการบ่งชี้ประเภทของมะเร็ง ทำได้อย่างไร? บทความนี้มีคำตอบ!

Copyright © 2024 All Rights Reserved | Praram 9 Hospital