บทความสุขภาพ

Knowledge

ผู้ป่วยโรคไต ดูแลตัวเองอย่างไรช่วง COVID-19

พญ. ผ่องพรรณ ทานาค

การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ตระหนักในด้านการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยทั้งของตนเองและของส่วนรวมมากขึ้น


เนื่องจากการรักษาสุขภาพตนเองให้ดีอยู่เสมอ การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงพอ จะช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน ที่จะช่วยป้องกันตันเองจากไวรัสได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัวต่างๆ เช่นโรคไต โรคปอด โรคหัวใจ เนื่องจากภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่แข็งแรง จึงมีโอกาสเสี่ยงในการรับเชื้อได้ง่ายกว่า และมีความรุนแรงมากกว่าคนทั่วไป ซึ่งผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เป็นก็จัดเป็นกลุ่มที่จะต้องดูแลตนเองอย่างเคร่งครัด


โรคไตเรื้อรัง ที่อยู่ในระยะที่ 3 ถึงระยะที่ 5 รวมถึงผู้ป่วยที่รักษาด้วยการฟอกเลือดและผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายไตที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ถือเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำทำให้ติดเชื้อได้ง่ายขึ้น ผู้ป่วยจึงควรปฏิบัติตามข้อแนะนำดังนี้


  • สำหรับผู้ป่วยที่รักษาด้วยการฟอกเลือดให้มารับบริการตามนัดหมาย หากคุณมีไข้ หรือมีอาการของหวัดให้ติดต่อกับทางโรงพยาบาลก่อนที่จะเข้ารับบริการ
  • ผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ให้รับประทานยาตามที่แพทย์สั่งและสำรองยาไว้อย่างน้อย 2 – 4 สัปดาห์
  • ปฏิบัติตามข้อแนะนำด้านการรักษาสุขอนามัยในช่วงการระบาดของโควิด-19 เช่น ล้างมือ, สวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในที่ชุมชน, หลีกเลี่ยงสถานที่หนาแน่น, รักษาระยะห่างจากผู้อื่น และพยายามอยู่บ้านให้มากที่สุด

สำหรับการเรื่องการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตจะไม่เหมือนกับคนทั่วไป ให้ปรึกษากับอายุรแพทย์โรคไตที่ดูแล ว่าผู้ป่วยแต่ละท่านควรจะรับประทานเนื้อสัตว์ได้วันละเท่าไร ดื่มน้ำวันละเท่าไร ผัก ผลไม้ชนิดใดที่ควรรับประทานหรือไม่ควรรับประทาน การพักผ่อนควรต้องพักผ่อนให้เพียงพอ อย่าปล่อยให้ร่างกายอ่อนล้า และควรออกกำลังกายตามความเหมาะสม

เกี่ยวกับผู้เขียนบทความ

พญ. ผ่องพรรณ ทานาค

พญ. ผ่องพรรณ ทานาค

ศูนย์ตรวจสุขภาพ

บทความที่เกี่ยวข้อง (10)

ดูทั้งหมด

หมอนรองกระดูกเสื่อม ต้นเหตุอาการปวดหลังเรื้อรังที่อายุน้อยก็พบได้

หมอนรองกระดูกเสื่อมคือภาวะที่เกิดจากการเสื่อมของหมอนรองกระดูกจนไม่สามารถทำหน้าที่ลดแรงกระแทกได้ ทำให้กระดูกรอบ ๆ สึกและอักเสบขึ้นจนเกิดอาการปวดเรื้อรัง

อาการปวดสะโพกร้าวลงขา อีกหนึ่งสัญญาณเส้นประสาทถูกกดทับ

อาการปวดสะโพกร้าวลงขา (Sciatica pain) เกิดจากการถูกกดทับที่เส้นประสาท ทำให้รู้สึกปวดจากช่วงเอวหรือสะโพกร้าวลงขาด้านหลัง บางรายอาจร้าวไปถึงน่องและเท้าได้

ปวดข้อเท้าเกิดจากสาเหตุอะไร มีวิธีรักษาอย่างไรไม่ให้เจ็บเรื้อรัง?

ทำความเข้าใจกับอาการปวดข้อเท้าที่ควรรู้ อาการแบบไหนที่ควรเข้าปรึกษาแพทย์? พร้อมเรียนรู้สาเหตุของอาการ วิธีรักษา ตลอดจนการป้องกันไม่ให้เจ็บข้อเท้าเรื้อรัง

คำแนะนำการป้องกันมาลาเรียสำหรับนักเดินทาง

โรคมาลาเรียเป็นโรคที่เกิดจากโปรโตซัว Plasmodium นำโดยยุงก้นปล่อง มีทั้งหมด 5 สายพันธุ์ สายพันธ์ุที่รุนแรงคือ Plasmodium falciparum ซึ่งเป็นสายพันธุ์หลักในทวีปแอฟริกา ทำให้เกิดการติดเชื้อรุนแรง อวัยวะต่างๆล้มเหลว ติดเชื้อขึ้นสมอง โคม่า ชัก และเสียชีวิตได้ หากได้รับการรักษาที่ล่าช้า

ไส้เลื่อน ใครก็เป็นได้ อันตรายที่ต้องรักษาก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน

ไส้เลื่อน คือภาวะที่ลำไส้เลื่อนหรือดันออกมาจากช่องท้อง สามารถสังเกตเห็นก้อนนูนออกมาตามขาหนีบ หน้าท้อง สะดือ หากไม่รักษาอาจเกิดอันตรายจากอาการแทรกซ้อนได้

รู้ทันต้อหิน โรคร้ายทำลายการมองเห็น รีบรักษาก่อนสายเกินแก้

ต้อหิน (Glaucoma) คือโรคตาที่มีสาเหตุจากขั้วประสาทตาเสื่อม ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหัวปวดตา กระจกตาขุ่น การมองเห็นแย่ลง และค่อย ๆ สูญเสียการมองเห็นไปในที่สุด

Hypothyroidism คืออะไร? รู้ทันสาเหตุ อาการ และวิธีรักษา

Hypothyroidism คือ ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ หรือฮอร์โมนไทรอยด์ทำงานต่ำ ทำให้ระดับการเผาผลาญพลังงานลดลง และนำมาสู่การทำงานของระบบต่าง ๆ ผิดปกติ

รู้ทันอาการน้ำในหูไม่เท่ากัน ใครเวียนหัว บ้านหมุนบ่อยต้องระวัง

โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน เป็นความผิดปกติของระบบน้ำในหูชั้นใน ซึ่งสามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ เวียนหัว บ้านหมุน ทรงตัวไม่อยู่ และการได้ยินผิดปกติ

หายใจไม่อิ่ม หายใจลำบาก สัญญาณอันตรายที่คุณไม่ควรมองข้าม

หายใจไม่อิ่ม เป็นอาการที่หลายคนเผชิญ อาจมีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่เต็มปอด หายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อยง่าย บทนี้ความจะพาไปดูสาเหตุของอาการเหล่านี้กัน

ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน อันตรายถึงชีวิตแบบไร้สัญญาณเตือน

หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest) คือ ภาวะที่หัวใจหยุดทำงานกะทันหัน ทำให้หมดสติและเสียชีวิตในไม่กี่นาที จึงเป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรับการรักษาทันที

Copyright © 2024 All Rights Reserved | Praram 9 Hospital